พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระสยามเทวมหามกุฏวิทยมหาราช พระราชสมภพเมื่อ วันที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๓๔๗ ตรงกับวันพฤหัสบดี ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีชวด ฉศกจุลศักราช ๑๑๖๖ ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๒ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และสมเด็จพระ ศรีสุริเยนทราบรมราชินี ณ พระราชวังเดิม พระเจ้ากรุงธนบุรี เมื่อพระชนมายุย่างเข้า ๙ พรรษา (พ.ศ. ๒๓๕๖) สมเด็จพระบรมชนกนาถ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จัดให้มีพระราชพิธีลงสรงเป็นครั้งแรก ในกรุงรัตน... >> อ่านต่อ
กองประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล(มทร.)ล้านนา จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการสร้างเนื้อหาสารด้วยกลยุทธ์การวิเคราะห์ผู้รับสาร(Content Created by Target Analytics Strategy) ระหว่างวันที่ 15 - 16 สิงหาคม 2566 ... >> อ่านต่อ
บทอาศิรวาทถวายพระพรชัยมงคล ในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วันที่ 28 กรกฎาคม 2566 ขอเดชะ ฝ่าละออง ธุลีพระบาท &... >> อ่านต่อ
ราชมงคลล้านนาสรรเสริญ ประจำปีการศึกษา 2565 โดย กองพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ปีพิมพ์ 2566 จำนวน 82 หน้า เกี่ยวกับหนังสือ หนังสือประกาศเกียรติคุณ ยกย่อง เชิดชูเกียรติ คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ศิษย์เก่าจากพื้นที่ต่าง ๆ ที่ได้เสียสละ สร้างชื่อเสียง อุทิศตนและทำคุณประโยชน์ให้แก่มหาวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา 2565 ในพิธีมอบรางวัล "ราชมงคลสรรณเสริญ" ภายใต้โครงการสืบสานว... >> อ่านต่อ
ผลงานแนวทางการปฏิบัติที่ดี (Good Practices) ประจําปีการศึกษา 2564 จากทุกหน่วยงาน ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ด้านการวิจัย จํานวน 21 เรื่อง ถ่ายทอดความรู้ เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติอย่างเป็นระบบ และนำไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานและองค์กรอื่นๆ ต่อไป ผลงานแนวทางการปฏิบัติที่ดี (Good Practices) ประจําปีการศึกษา 2564 ด้านการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงาน จํานวน 21 เรื่อง ดังนี้ >> อ่านต่อ
โดย คณะกรรมการดำเนินงานการจัดการความรู้ในองค์กร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ปีพิมพ์ 2565 จำนวน 388 หน้า เกี่ยวกับหนังสือ รวบรวมผลงานแนวทางการปฏิบัติที่ดี (Good Practices) ประจําปีการศึกษา 2564 จากทุกหน่วยงาน ในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ใน 3 ประเด็นองค์ความรู้ คือ ด้านการผลิตบัณฑิต ด้านการวิจัย และด้านการพัฒนาสมรรถนะ การปฏิบัติงาน จํานวน 40 เรื่อง เพื่อถ่ายทอดไปสู่บุคลากรและนําไปปฏิบัติอย่างเป็นระบบ (Explicit Kno... >> อ่านต่อ
แนวปฏิบัติที่ดี “กระบวนการกำกับติดตามแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล (IDP)” “แผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan)” เป็นเครื่องมือที่สำคัญอย่างหนึ่งในการสนับสนุนให้การพัฒนาของบุคลากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเป็นการนำผลการปฏิบัติงานของบุคลากรแต่ละคน รวมทั้งพฤติกรรมด้านสมรรถนะ ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้กำหนด... >> อ่านต่อ